พระไตรปิฎก พระสูตร หรือที่เรียกในทางวิชาการว่า
พระสุตตันปิฎก เป็น 1 ใน 3 ปิฎก มีลักษณะที่แตกต่างออกไปจากพระวินัยปิฎกและพระอภิธรรมปิฎก
คือ เป็นการแสดงพระธรรมเทศนาที่มี บุคคล
เหตุการณ์และสถานที่เข้ามาประกอบที่เรียกว่า บุคลาธิษฐาน
โดยที่พระพุทธเจ้าทรงปรารภบุคคลเป็นต้น แล้วทรงถือโอกาสแสดงธรรมเทศนา
ที่มีลักษณะเป็น ธรรมาธิษฐานบ้าง แต่ก็มีเป็นส่วนน้อย พระธรรมเทศนาในพระสูตรมีเป็นจำนวนมาก
หลายหมวด หลายประเภ อ่านเพิ่มเติม
วันอาทิตย์ที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2559
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา พุทธศาสนิกชนควรมีความรู้ในหลักธรรมที่เป็นพื้นฐานแห่งความเจริญแห่งชีวิต
อันได้แก่ จักร 4 และทิฏฐธัมมิกัตถะ 4 โดยสามารถนำปัญญาที่ประกอบด้วยธรรม
คือ สัปปุริสธรรม 7 และมรรคมีองค์ 8 เข้าตรวจสอบคุณภาพชีวิตของตน
สามารถนำมาประยุกต์ใช้เป็นแนวทางที่เหมาะสมกับการดำเนินชีวิต
เพื่อความผาสุกแก่ตนเองและสังค อ่านเพิ่มเติม
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาและศาสนพิธี
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาและศาสนพิธี ๑.วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาระเบียบพิธี
พิธีเวียนเทียน การปฏิบัติตนในวันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอัฏฐมีบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาเป็นวันที่ชาวพุทธทั่วโลกยอมรับนับถือกันว่ามีความสำคัญเกี่ยวข้องโดยตรงกับพระรัตนตรัย
และเหตุการณ์สำคัญอื่น ๆ ในรอบหนึ่งปีกำหนดไว้ ๖ วัน คือ วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา
วันอัฏฐมีบูชา วันอาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา และวันออกพ อ่านเพิ่มเติม
พุทธประวัติและชาดก
พุทธประวัติพระพุทธเจ้าประสูติเมื่อวันขึ้น
15 ค่ำเดือน 6 ณ
สวนลุมพินีวันใต้ต้นสาละ
มีพระนามเดิมว่า สิทธัตถะ
เป็นพระโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะกับพระนางสิริมหามายา เมื่อพระองค์ประสูติพระองค์ทรงเจ้าชายสิทธัตถะทรงดำเนินด้วยพระบาท
7 ก้าว และมีดอกบัวผุดขึ้นมารองรับพระบาท พร้อมเปล่งพระวาจาว่า
"เราเป็นเลิศที่สุดในโลก ประเสริฐที่สุดในโลก
การเกิดครั้งนี้เป็นครั้งสุดท้ายของเรา"
แต่หลังจากเจ้าชายสิทธัตถะประสูติกาลได้แล้ว 7 วัน
พระนางสิริมหามายาก็สิ้นพระชนย์
เมื่อพระองค์มีอายุได้ 8 พรรษาพระองค์ได้เรียนจบทุกหลักสูตรในสำนักครูวิศ
ลักษณะของสังคมชมพูทวีปและความเชื่อทางศาสนาสมัยก่อนพระพุทธเจ้า
ลักษณะ สังคมของชมพูทวีปและลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนาที่บอกถึงความเป็นศาสนา
พุทธ เพราะศาสนาทุกศาสนามีแนวทางปฏิบัติเฉพาะตนแต่มีจุดมุ่งหมายตรงกันคือเป็นที่
ยึดเหนี่ยวจิตใจและสอนให้เป็นคนดี ศาสนากับมนุษย์ในสังคมแต่ละยุค
จะมีความสัมพันธ์กัน แสดงภาพสะท้อนซึ่งกันและกันตั้งแต่เกิดจนต อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)